Wednesday

ธุดงค์ขึ้นดอยอินทนนท์






















   



 






































28 comments:

  1. https://www.youtube.com/watch?v=bJe9yOW3xws

    ReplyDelete
  2. ซีรี่ย์ ศึกษาธรรมะ ชุด 10 ตอนที่ 1
    https://www.youtube.com/watch?v=G10eOHxVY_s

    ReplyDelete
    Replies
    1. ธาตุรู้
      สิ่งที่ถูกรู้

      Delete
  3. ซีรี่ย์ ศึกษาธรรมะ ชุด 10 ตอนที่ 2
    https://www.youtube.com/watch?v=G-L8O1XgZw4

    ReplyDelete
  4. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0001
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/1

    ReplyDelete
  5. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0002
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/2

    ReplyDelete
  6. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0003
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/3
    ทรงสำเร็จสมาบัติ ๘ ทุกรกิริยา หนทางนี้ไม่ไช่หนทางแห่พระโพธิญาณ ตรัสรู้ _ บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ความพิเศษของพระพุทธเจ้า เจติยสถาน _ _ สถานที่ที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงละ กำหนดนักษัตร พระทีปังกรทรงพยากรณ์ท่านสุเมธดาบส _ _ ความปรารถนาและปัญญาของสุเมธบัณฑิต โลภะเป็นสมุทัย _ _ _ การถือปฏิสนธิในภพใหม่เป็นทุกข์ ความน่ารังเกียจและโทษของอกุศลและสังสารวัฏฏ์ _ _ _ แสวงหาหนทางดับกิเลสดับชาติการเกิด

    ReplyDelete
  7. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0004
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/4
    โลภะเป็นสมุทัย การถือปฏิสนธิในภพใหม่เป็นทุกข์ ความน่ารังเกียจและโทษของอกุศลและสังสารวัฏฏ์ _ _ แสวงหาหนทางดับกิเลสดับชาติการเกิด การประทับและการเสด็จจาริกของพระผู้มีพระภาค _ _ _ อรรถกถารถวินีตสูตร อรรถกถาปาสราสิสูตร กาลสมัยที่จะปรินิพพาน _ _ มหาปรินิพพานสูตร ทรงแสดงอิทธิบาท ๔

    ReplyDelete
  8. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0005
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/5
    กาลสมัยที่จะปรินิพพาน มหาปรินิพพานสูตร ทรงแสดงอิทธิบาท ๔ มารกราบทูลให้ทรงปรินิพพาน _ ทรงปลงอายุสังขาร ปาสาทิกสูตร ศาสดา หลักธรรม สาวก ความบริบูรณ์ของพรหมจรรย์ กถาวัตถุสูตร บุคคลผู้ไม่ควรพูด บุคคลผู้ควรพูด _ พุทธบริษัท ๔ ต้องศึกษาและปฏิบัติธรรม ตรวจตราอรรถและพยัญชนะในธรรมทั้งหลาย _ _ _ โพธิปักขิยธรรม บุคคลมีอุปนิสัย บุคคลไม่มีอุปนิสัย ผู้ที่เงี่ยโสตฟังและไม่เงียโสตลงฟัง _ อุตตรสูตร พิจารณาเห็นความวิบัติและสมบัติ

    ReplyDelete
  9. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0006
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/6
    อุตตรสูตร พิจารณาเห็นความวิบัติและสมบัติ อสัทธรรม ๘ ประการ _ _ ธรรม คือ ชีวิตประจำวัน ความหมายของสัจจธรรม ลักษณของสภาพธรรม ไม่ใช่ตัวตน _ พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก

    ReplyDelete
  10. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0007
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/7
    พระอภิธรรมปิฎก การปฏิบัติธรรมคืออะไร ปฏิบัติอย่างไร ใครปฏิบัติ _ ต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้อง ไม่ใช่เราปฏิบัติ สภาพธรรมแต่ละชนิดปฏิบัติกิจของธรรมนั้นๆ _ _ สภาพเห็น อารมณ์ โลก ๖ โลก ต้องแยกธรรมแต่ละลักษณะออกจากกัน _ ความทุกข์ของชีวิตเกิดจากอะไร อกุศลเป็นทุกข์และเป็นเหตุของทุกข์ _ _ _ ปัญหาต่างๆและการแก้ไข แก้ไขที่ตัวเราเองก่อน

    ReplyDelete
  11. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0008
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/8
    ปัญญา การสะสมปัญญากับการดับกิเลส ปัญญาเกิดได้อย่างไร ใช้สติใช้ปัญญาได้หรือ _ ไม่มีใครใช้สติปัญญาได้ อบรมเจริญปัญญาได้ ตั้งจิตไว้ชอบเพื่อเข้าใจ _ _ ปัญญามีลักษณะอย่างไร ปัญญามีหลายระดับขั้น ปัญญาขั้นฟัง ปัญญาขั้นพิจารณา _ จุดประสงค์ของการฟังพระธรรม การปฏิบัติธรรม ขั้นเริ่มต้นฟังให้เข้าใจ

    ReplyDelete
    Replies
    1. รูปธรรม= สภาพที่ไม่รู้, สภาพที่ไม่รับรู้ เช่นเสียง, กลิ่น
      นามธรรม = สภาพรู้, ธาตุรู้, อาการรู้ เช่นง่วง

      Delete
    2. รูปธรรม ไม่ใช่สภาพรู้, ไม่รู้อะไรทั้งสิ้น เช่น แข็ง, โต๊ะ
      นามธรรม เช่น หิว, เจ็บ, อิ่ม, ปวด, ความจำ(สัญญาเจตสิก), ความรู้สึก, สุข, ทุกข์, ปัญญา(เป็นเจตสิกชนิดหนึ่ง)
      เจตสิก = สภาพธรรมที่เกิดขึ้นกับจิต มีหน้าที่ทำงานต่าง ๆ แต่ละอย่าง ๆ เป็นเจตสิกไม่ใช่จิต

      Delete
    3. กรรม จิต อุตุ อาหาร
      4 อย่างนี้ ทำให้เกิดรูป

      Delete
    4. ไม่มีอะไรเลยที่เป็นของเราจริง ๆ
      ทุกสิ่งเกิดขึ้น แล้วก็ดับไปทุกชั่วขณะจิต

      Delete
  12. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0009
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/9
    ความหมายของคำภาษาบาลี _ _ _ _ คำบาลีที่ใช้ในความหมายภาษาไทย คำบาลีในความหมายทางพระพุทธศาสนา _ _ _ การเปรียบเทียบศาสนา โลภะ ความอยากรู้(บรรลุ)เร็ว ปัญญา ยิ่งอยากยิ่งช้า ท้อแท้เพราะใช้เวลาศึกษานาน ลักษณะของโลภะ ความติดข้องเป็นสมุทัย _ _ การบรรลุธรรม ไม่ต้องอบรมปัญญาได้หรือไม่ บรรลุธรรมอย่างไร _ _ ปัญญาจึงบรรลุธรรมได้ ปัญญาประจักษ์แจ้งสภาพธรรม

    ReplyDelete
    Replies
    1. ชาติ ไม่ได้หมายความว่าเป็นชาติต่าง ๆ เช่น ชาติไทย ชาติจีน ฯลฯ และ ไม่ใช่ ชน
      ชั้นวรรณะแต่เป็น "สภาพของจิต" ชาติ ( ชา- ติ ) จึงหมายถึงการเกิด คือ การเกิดขึ้น
      ของจิตและเจตสิกเกิดขึ้น ต้องเป็นชาติหนึ่ง ชาติใด คือ กุศลชาติ อกุศลชาติ วิบาก
      ชาติ กริยาชาติ จะไม่เป็นชาติหนึ่งชาติใดไม่ได้เลย

      Delete
    2. ตั้งแต่ตื่นขึ้นมาตอนเช้า ความอยาก(โลภะ) เกิดขึ้นมากกว่าปัญญา
      จึงยากที่จะบรรลุธรรม

      Delete
  13. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0010
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/10
    หนทางบรรลุธรรม ตอบปัญหาการปฏิบัติธรรม ปฏิบัติธรรมเพื่ออะไร ปฏิบัติธรรมเพื่อใคร _ ปฏิบัติแล้วได้อะไร มหาสติปัฏฐาน ทรงแสดงเอกายโน มคฺโค _ _ ต้องเข้าใจก่อนว่าปฏิบัติธรรมคืออะไร สติ ปัญญา ปฏิบัติกิจของตน _ _ _ การปฏิบัติธรรมโดยขาดกัลยาณมิตร _ _ _ _ การปฏิบัติมี ๒ อย่าง สัมมามรรค มิฉามรรค ทราบได้อย่างไรว่าปัญญาเกิด _ ปัญญารู้ลักษณะของสภาพธรรมที่ปรากฏ

    ReplyDelete
  14. 50 คุรุ หัวใจตื่นรู้
    http://www.newheartawaken.com/

    ReplyDelete
  15. แนวทางเจริญวิปัสสนา แผ่นที่ ๑ - ชุด แนวทางเจริญวิปัสสนา ครั้งที่ 0011
    http://www.dhammahome.com/cd/topic/33/11

    ReplyDelete
    Replies
    1. ปรมัตถธรรม มี 4 ประเภท คือ จิต เจตสิก รูป และนิพพาน

      Delete
  16. พระอรหันต์คือใคร
    https://youtu.be/5uX_wgQ6BqM

    ReplyDelete
  17. จะไปนิพพาน ถามว่าบารมี 10 เต็มบริบูรณ์หรือยัง

    ReplyDelete
    Replies
    1. https://www.youtube.com/watch?v=NlZw50SknqQ

      Delete
  18. วิธีการเพ่งกสิณ
    https://www.youtube.com/watch?v=JUT57dB0_W8

    ReplyDelete
  19. quiceAtemp_ki Adam Leon download
    vieducheasign

    ReplyDelete